เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง กสทช. แจงไม่มีอำนาจจัดการ หาก ทรูควบรวมดีแท็ค

เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง กสทช. แจงไม่มีอำนาจจัดการ หาก ทรูควบรวมดีแท็ค

เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง กสทช. ได้แถลงว่าทาง กสทช. ไม่มีอำนาจจัดการ หาก ทรูควบรวมดีแท็ค ชี้สังคมเข้าใจผิด เพราะปัจจุบันยังไม่มีการควบรวม นายสุทธิศักดิ์ ตันตะโยธิน รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. สายงานโทรคมนาคม ได้ออกมาแถลงถึง การหารือเบื้องต้นระหว่างกลุ่มทรูกับทาง กสทช.ว่า

เป็นเรื่องของนโยบายบริษัทแม่ระหว่างเครือเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี) 

และกลุ่มเทเลนอร์ ร่วมกันสอบทานธุรกิจ (Due Diligence) บริษัทโฮลดิ้งของทรูและดีแทค เพื่อรวมกันตั้งบริษัทบริษัทใหม่เพื่อรับซื้อหุ้นซึ่งกันและกัน เป็นเรื่องของทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างไรก็ตาม บริษัทโฮลดิ้งของทรูและดีแทค ไม่ได้อยู่ภายใต้ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม ของ กสทช. ซึ่ง กสทช.ไม่สามารถเข้าไปดำเนินการได้

นายสุทธิศักดิ์กล่าวว่า ตอนนี้สังคมไทยเข้าใจผิดกันหมดว่าเป็นการควบรวมบริษัทลูกของทรูและดีแทค คือ บริษัท ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (TUC) กับ บริษัท ดีแทค ไตรเน็ต จำกัด (DTN) ตามที่ทางกลุ่มทรูพูดมายังไม่ได้มีการควบรวมบริษัทลูกตรงนี้ อย่างไรก็ตาม

ถ้ามีการควบรวมบริษัทลูกขึ้นมา ต้องมีการทำกฎระเบียบของ กสทช. เพราะ TUC และ DTN อยู่ภายใต้ใบอนุญาตของ กสทช. โดยกระบวนการเบื้องต้นต้องมีที่ปรึกษาทางการเงิน เพื่อประเมินว่าจะไม่ส่งผลกระทบต่อการแข่งขันในตลาด ทาง กสทช.มีสิทธิจะอนุญาตหรือไม่อนุญาตก็ได้

“การรวมบริษัทโฮลดิ้งของทรูและดีแทค ต้องให้คณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า (กขค.) เป็นผู้ตรวจสอบ เหมือนกรณีของบริษัทโฮลดิ้งของทางซีพีซื้อกิจการห้างค้าปลีกเทสโก้โลตัส ทั้งนี้ ขอยืนยันว่าผู้บริโภคที่ใช้บริการของทรูและดีแทค ยังไม่ได้รับผลกระทบในการให้บริการ และในเร็วๆ นี้จะมีการออกข่าวประชาสัมพันธ์เพื่อชี้แจงกับสังคมว่า กสทช.ยังไม่มีอำนาจเข้าไปจัดการตรงนี้ได้” นายสุทธิศักดิ์กล่าว

โดยหลังจากเพิกถอนใบอนุญาตแล้ว กองทุนประกันวินาศภัยจะรับช่วงจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัย สำหรับกรมธรรม์ประกันภัยที่ยังมีผลผูกพันกับบริษัทฯ ได้กำหนดแนวทางการช่วยเหลือผู้เอาประกันภัยและประชาชน โดยโอนให้กับบริษัทประกันภัยแห่งอื่นรับผิดชอบต่อ นอกจากนี้ ได้ส่งเสริมให้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยโควิด-19 โดยเฉพาะขึ้น เพื่อรองรับผู้เอาประกันภัยที่ประสงค์ความคุ้มครองโควิด-19 ต่อเนื่อง จึงขอให้ประชาชนมั่นใจว่าจะได้รับการคุ้มครองดูแล โดยสำนักงาน คปภ. จะบูรณาการร่วมกับกองทุนประกันวินาศภัยและสมาคมประกันวินาศภัยไทย ช่วยบรรเทาเยียวยาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างเต็มที่ และพร้อมน้อมรับทุกคำชี้แนะในการดูแลคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของประชาชน สำหรับรายชื่อบริษัทประกันวินาศภัยที่เข้าร่วมโครงการ สามารถดูได้ จากเว็บไซต์ของสำนักงาน คปภ. (www.oic.or.th) หรือสอบถามได้ที่สายด่วน คปภ. 1186” เลขาธิการ คปภ. กล่าวในตอนท้าย

‘ครูรู้สึกไม่โอเค’ ดราม่าครูสอนภาษาอังกฤษแบบผิดๆ ผู้ปกครองท้วง ทำเงียบไม่ยอมสอน

แม่นั่งเรียนออนไลน์กับลูก เจอครูสอนภาษาอังกฤษแบบผิดๆ Her has sixteen mangoes คุณแม่เลยเปิดไมค์ท้วง เจอตอกกลับ ครูรู้สึกไม่โอเค แถมเงียบไม่สอนต่อ

วันที่ 24 พ.ย.64 ผู้ปกครองท่านหนึ่งได้เปิดเผยเรื่องราวของคุณครูภาษาอังกฤษรายซึ่งถ่ายทอดความรู้แบบผิดๆ ผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัวของตัวเอง โดยประเด็นเกี่ยวกับเรื่องของหลักภาษา ที่ร้อนถึงคนเป็นแม่ซึ่งกำลังนั่งเรียนออนไลน์กับลูก ต้องทักท้วง แต่แทนที่แม่พิมพ์ของชาติจะยอมรับผิดหรือกล่าวขอโทษ ปรากฏว่า ครูภาษษอังกฤษกลับเหนือชั้นกว่านั้น แสดงท่าทีประชดประชันพร้อมกับบอกว่า ครูรู้สึกไม่โอเค

ดราม่านี้เริ่มจาก ครูสั่งให้นักเรียนแปลประโยคภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ คือ “เธอมีมะม่วง 16 ผล” และ “เธอมีปลา 12 ตัว” ซึ่งความผิดพลาดที่ครูท่านนี้ก่อขึ้นก็คทอ เธอไปใช้ Her เป็นประธานของประโยค ซึ่งผิดหลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ คาดว่าคุณครูน่าจะเข้าใจผิดระหว่างคำว่า Her คำสรรพนามที่เป็นกรรม และคำว่า Her ที่เป็น Possessive Adjective เพื่อใช้แสดงความเป็นเจ้าของ

ด้วยความที่คุณครูกำลังสอน คุณแม่เลยไม่ได้ทักไปส่วนตัว เพราะกลัวว่าครูจะไม่อ่าน และเด็ก ๆ กำลังเริ่มท่องประโยคแบบผิดๆ คุณแม่จึงได้โทร. ไปถามเพื่อนว่าครูสอนผิดใช่ไหม ซึ่งเพื่อน ๆ ก็ยืนยันว่าใช่ คุณแม่จึงทักไปในห้องเรียนออนไลน์ เปิดไมค์ และบอกว่าในรูปประโยคนี้ คำว่า Her ไม่สามารถเป็นประธานของประโยคได้ ต้องเป็นคำว่า She เท่านั้น

ทันใดนั้น ครูก็ท้วงกลับมาว่า ครูสอนคำว่า My (ของฉัน) เลยสอนคำว่า Her (ของเธอ) และต่อไปครูจะสอน He She it (ประธานเอกพจน์) ซึ่งเป็นการทำตามแผนการสอน

อาการหนักที่มีการยกเหตุผลว่า เด็กที่ไม่ได้เรียน ห้อง EP จะสอนกันแบบนี้

การที่ครูอ้างว่าเด็กที่ไม่ได้เรียนห้อง EP จะสอนกันแบบนี้( EPย่อมาจาก English Program เป็นห้องเรียนที่เน้นวิชาภาษาอังกฤษ โดยการเรียนการสอนจะเป็นภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด คล้ายๆ กับโรงเรียนนานาชาติ) เหมือนครูกำลังบอกว่า หากลูกหลานไม่ได้เรียนห้อง EP แบบโรงเรียนแพง ๆ ก็ต้องเรียนกันแบบนี้ ยิ่งทำให้ผู้ปกครองรู้สึกไม่พอใจหนักเพิ่มเข้าไปอีก และได้ชี้แจงเพิ่มว่า “ครูจะสอนอย่างนี้ โจทย์ต้องไม่สร้างความสับสนให้เด็กแบบนี้”

ทำให้ทางครูผู้สอนไม่พอใจ สวนกลับมาว่า “ครูรู้สึกไม่โอเค และไปไม่เป็นเลย” เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง